
เป้าหมายที่ 11 ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ มีความครอบคลุม ปลอดภัย ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง และยั่งยืน
เป้าหมายที่ 11 ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ มีความครอบคลุม ปลอดภัย ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง และยั่งยืน
ภาพจากการประกวดภาพถ่าย “ส่งเสริมยุทธศาสตร์ชาติ ด้วยพลังภาพถ่ายที่สร้างสรรค์”
การพัฒนาที่ยั่งยืนจะไม่สามารถบรรลุได้หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงวิถีการพัฒนาและจัดการพื้นที่เมืองการเพิ่มขึ้นของประชากรและการย้ายถิ่นฐาน ส่งผลให้มีการเกิดขึ้นของเมืองและมหานครอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา และชุมชนแออัดกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนเมือง การพัฒนาเมืองให้ยั่งยืน คือ การสร้างงานและโอกาสทางธุรกิจ ที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยในราคาที่เหมาะสมและการสร้างสังคมและเศรษฐกิจที่มีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการลงทุนในการขนส่งสาธารณะการสร้างพื้นที่สาธารณะสีเขียว และการปรับปรุงการวางผังเมืองและการบริหารจัดการที่ครอบคลุมและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
ที่มา: สหประชาชาติ
เป้าหมายย่อย 11.1
สร้างหลักประกันว่าทุกคนเข้าถึงที่อยู่อาศัยและการบริการพื้นฐานที่เพียงพอ ปลอดภัย ในราคาที่สามารถจ่ายได้และยกระดับชุมชนแออัด ภายในปี พ.ศ. 2573
สัดส่วนของประชากรที่มีรายได้ต่ากว่า เส้นความยากจนสากลจาแนกตาม เพศ อายุ สถานะการจ้างงาน และ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ (ชุมชนเมือง/ชนบท)
เป้าหมายย่อย 11.2
จัดให้ทุกคนเข้าถึงระบบคมนาคมขนส่งที่ยั่งยืน เข้าถึงได้ปลอดภัย ในราคาที่สามารถจ่ายได้พัฒนาความปลอดภัยทางถนน ขยายการขนส่งสาธารณะและคำนึงถึงกลุ่มคนที่อยู่ในสถานการณ์ที่เปราะบาง ผู้หญิง เด็กผู้พิการ และผู้สูงอายุ ภายในปี พ.ศ. 2573
สัดส่วนของประชากรที่อยู่ต่ากว่าเส้น ความยากจนของประเทศ จาแนกตามเพศ และอายุ
ตัวชี้วัดเทียบเคียง
สัดส่วนคนจนเมื่อวัดด้านรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค จาแนกตามเพศ และอายุ (0-14 ปี 15-59 ปี และ 60 ปีขึ้นไป)
สัดส่วนของผู้ชาย ผู้หญิงและเด็กในทุกช่วงวัยที่ยากจนในทุกมิติ ตามนิยามของแต่ละประเทศ
เป้าหมายย่อย 11.3
ยกระดับการพัฒนาเมืองและขีดความสามารถให้ครอบคลุมและยั่งยืนเพื่อการวางแผนและการบริหารจัดการการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์อย่างมีส่วนร่วม บูรณาการและยั่งยืนในทุกประเทศ ภายในปี พ.ศ. 2573
สัดส่วนของประชากรที่ได้รับความคุ้มครองตามระบบและมาตรการการคุ้มครองทางสังคม จาแนกตามเพศ และแบ่งเป็น เด็ก ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ หญิงตั้งครรภ์ เด็กเกิดใหม่ ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากการทางาน ผู้ที่ยากจนและเปราะบาง
เป้าหมายย่อย 11.4
เสริมความพยายามในการปกป้องและคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติของโลก
สัดส่วนของประชากรอาศัยในครัวเรือน ที่เข้าถึงบริการขั้นพื้นฐาน
สัดส่วนของประชากรผู้ใหญ่ที่มีสิทธิครอบครองที่ดินอย่างมั่นคง โดย (ก) มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินตามกฎหมาย และ (ข) ทราบว่าสิทธิครอบครองที่ดินของตนมีความมั่นคง จาแนกตามเพศ และประเภทการถือครอง
เป้าหมายย่อย 11.5
ลดจำนวนผู้เสียชีวิตและผู้ที่ได้รับผลกระทบตลอดจนลดความสูญเสียโดยตรงทางเศรษฐกิจเทียบเคียงกับGDP ของโลก ที่เกิดจากภัยพิบัติ ซึ่งรวมถึงภัยพิบัติที่เกี่ยวกับน้ำ
โดยมุ่งเป้าปกป้องคนจนและคนที่อยู่ในสถานการณ์ที่เปราะบางภายในปี พ.ศ. 2573
จำนวนผู้เสียชีวิต สูญหาย และผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากภัยพิบัติต่อประชากร 100,000 คน (ภัยพิบัติ รวมถึง อุทกภัย อัคคีภัย วาตภัย และภัยแล้ง)
การสูญเสียทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจาก ภัยพิบัติโดยตรง ต่อ GDP โลก
จำนวนประเทศที่มีและดาเนินการตามยุทธศาสตร์การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติระดับประเทศ ที่สอดคล้องกับกรอบการดาเนินงานเซนไดเพื่อการลด ความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 - 2573
สัดส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีและดาเนินการตามยุทธศาสตร์การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติระดับท้องถิ่นที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ระดับประเทศ
เป้าหมายย่อย 11.6
ลดผลกระทบทางลบของเมืองต่อสิ่งแวดล้อมต่อหัวประชากรรวมถึงการให้ความสำคัญกับคุณภาพอากาศและการจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอื่นๆ ภายในปี พ.ศ. 2573
สัดส่วนของเงินสนับสนุนให้เปล่า (ODA grants) เพื่อมุ่งลดความยากจน จากผู้ให้การสนับสนุนทั้งหมด ต่อรายได้มวลรวมประชาชาติ (GNI) ของประเทศผู้รับ
สัดส่วนการใช้จ่ายรวมของรัฐบาลในบริการที่สาคัญจาเป็น (การศึกษา สุขภาพ และการคุ้มครองทางสังคม)
เป้าหมายย่อย 11.7
จัดให้มีการเข้าถึงพื้นที่สาธารณะสีเขียวที่ปลอดภัยครอบคลุมและเข้าถึงได้ โดยถ้วนหน้าโดยเฉพาะสำหรับผู้หญิง เด็ก คนชรา และผู้พิการ ภายในปี พ.ศ. 2573
สัดส่วนของเงินสนับสนุนให้เปล่า (ODA grants) เพื่อมุ่งลดความยากจน จากผู้ให้การสนับสนุนทั้งหมด ต่อรายได้มวลรวมประชาชาติ (GNI) ของประเทศผู้รับ
สัดส่วนการใช้จ่ายรวมของรัฐบาลในบริการที่สาคัญจาเป็น (การศึกษา สุขภาพ และการคุ้มครองทางสังคม)
เป้าหมายย่อย 11.A
สนับสุนนการเชื่อมโยงเชิงบวกทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมระหว่างพื้นที่เมือง รอบเมือง และชนบทโดยการเสริมความแข็งแกร่งของการวางแผนการพัฒนาในระดับชาติและภูมิภาค
สัดส่วนของเงินสนับสนุนให้เปล่า (ODA grants) เพื่อมุ่งลดความยากจน จากผู้ให้การสนับสนุนทั้งหมด ต่อรายได้มวลรวมประชาชาติ (GNI) ของประเทศผู้รับ
สัดส่วนการใช้จ่ายรวมของรัฐบาลในบริการที่สาคัญจาเป็น (การศึกษา สุขภาพ และการคุ้มครองทางสังคม)
เป้าหมายย่อย 11.B
ภายในปี พ.ศ. 2563 เพิ่มจำนวนเมืองและกระบวนการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ที่เลือกใช้และดำเนินการตามนโยบายและแผนที่บูรณาการเพื่อนำไปสู่ความครอบคลุม ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร การลดผลกระทบ และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีภูมิต้านทานต่อภัpพิบัติและให้พัฒนาและดำเนินการตามการบริหารความเสี่ยงจากภัยพิบัติแบบองค์รวมในทุกระดับ โดยเป็นไปตามกรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยง
จากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 – 2573
สัดส่วนของเงินสนับสนุนให้เปล่า (ODA grants) เพื่อมุ่งลดความยากจน จากผู้ให้การสนับสนุนทั้งหมด ต่อรายได้มวลรวมประชาชาติ (GNI) ของประเทศผู้รับ
สัดส่วนการใช้จ่ายรวมของรัฐบาลในบริการที่สาคัญจาเป็น (การศึกษา สุขภาพ และการคุ้มครองทางสังคม)
เป้าหมายย่อย 11.C
สนับสนุนประเทศพัฒนาน้อยที่สุดรวมถึงผ่านทางความช่วยเหลือทางการเงินและวิชาการในการสร้างอาคารที่ยั่งยืนและมีความต้านทานและยืดหยุ่นโดยใช้วัสดุท้องถิ่น
สัดส่วนของเงินสนับสนุนให้เปล่า (ODA grants) เพื่อมุ่งลดความยากจน จากผู้ให้การสนับสนุนทั้งหมด ต่อรายได้มวลรวมประชาชาติ (GNI) ของประเทศผู้รับ
สัดส่วนการใช้จ่ายรวมของรัฐบาลในบริการที่สาคัญจาเป็น (การศึกษา สุขภาพ และการคุ้มครองทางสังคม)
Case Study

Case study – SDG 13
โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย Thailand Voluntary Emission Reduction Program (T-VER) เป็นโครงการส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศด้วยความสมัครใจ โดยสามารถนำปริมาณการลดหรือดูดซับก๊าซเรือนกระจกที่ผ่านการรับรอง ที่เรียกว่า “คาร์บอนเครดิต” ไปขายในตลาดคาร์บอนภาคสมัครใจภายในประเทศได้ ตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนการพัฒนาโครงการที่องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (อบก.) กำหนด…. อ่านเพิ่มเติม






Case study - SDG 13

โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย Thailand Voluntary Emission Reduction Program (T-VER) เป็นโครงการส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศด้วยความสมัครใจ โดยสามารถนำปริมาณการลดหรือดูดซับก๊าซเรือนกระจกที่ผ่านการรับรอง ที่เรียกว่า “คาร์บอนเครดิต” ไปขายในตลาดคาร์บอนภาคสมัครใจภายในประเทศได้ ตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนการพัฒนาโครงการที่องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (อบก.) กำหนด…. อ่านเพิ่มเติม





