หน้าแรก

มุ่งสู่เป้าหมาย
เพื่อเปลี่ยน… โลกของเรา

SDGs Dashboard

แพลตฟอร์มฐานข้อมูลกลาง SDGs ของประเทศไทย ที่ดำเนินตามระเบียบวิธีของสหประชาชาติ (UN Metadata) หรือระเบียบวิธีที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศ ซึ่งเป็นช่องทางที่แสดงผลการขับเคลื่อน SDGs ที่เป็นปัจจุบัน

ข่าวสารล่าสุด

post on

การประชุมคณะกรรมการอำนวยการสามฝ่าย (Tripartite Steering Committee Meeting) เพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนระหว่างไทยและสหประชาชาติประจำประเทศไทย

เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2568 นายวันฉัตร สุวรรณกิตติ รองเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นประธานร่วมกับ นางสาวพินทุ์สุดา ชัยนาม อธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ และนางสาวมิเกลล่า ฟิลแบรย์-สตอเร่ (Ms. Michaela Friberg-Storey) ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย (United Nations Resident Coordinator: UNRC) ในการประชุมคณะกรรมการอำนวยการสามฝ่าย (Tripartite Steering Committee Meeting) เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการตามกรอบความร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (United Nations Cooperation Framework: UNSDCF) วาระปี 2565 – 2569 และเตรียมการสำหรับการจัดทำกรอบความร่วมมือ UNSDCF ฉบับใหม่วาระปี 2570 – 2574 ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร            ผู้แทนหน่วยงานสหประชาชาติประจำประเทศไทยได้รายงานผลการดำเนินงานภายใต้กรอบความร่วมมือ UNSDCF วาระปี 2565 – 2569 ใน 3 […]

บทความน่าสนใจ

Goal 13Goal 14
post on

Blue Economy จากฟองคลื่นสู่เม็ดเงิน เมื่อมหาสมุทรกลายเป็นอนาคตของโลก

หากเรามองมหาสมุทรเพียงแค่แหล่งทรัพยากรธรรมชาติหรือสถานที่ท่องเที่ยว อาจเป็นการมองข้ามบทบาทสำคัญที่แท้จริงของมัน รายงาน The blue imperative: understanding interactions between the ocean, climate and economy ของ Centre for Economic Transition Expertise (CETEx) ในปี 2024 ชี้ให้เห็นว่ามหาสมุทรคือหัวใจสำคัญของสมดุลทางเศรษฐกิจและสภาพภูมิอากาศในระดับโลก บทความนี้จะชวนสำรวจแนวคิดเศรษฐกิจสีน้ำเงิน (Blue Economy) ซึ่งไม่ได้เป็นเพียงแค่เรื่องของการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทะเลเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน เพื่อให้มหาสมุทรสามารถคงความอุดมสมบูรณ์และเกื้อหนุนเศรษฐกิจโลกไปพร้อมกัน มหาสมุทรคือกุญแจสำคัญในการควบคุมสภาพภูมิอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มหาสมุทรไม่เพียงแต่เป็นกักเก็บแหล่งน้ำ ความร้อน และคาร์บอนที่สำคัญของโลกเท่านั้น แต่ยังช่วยสร้างความเสถียรให้กับระบบภูมิอากาศโลก โดยมหาสมุทรเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนที่ใหญ่ที่สุดของโลกและดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในปริมาณที่มากกว่าป่าไม้ทั่วโลก ประมาณ 25% ของการปล่อยก๊าซคาร์บอนจากกิจกรรมมนุษย์ที่ปล่อยออกมาตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรมถูกดูดซับโดยมหาสมุทรโดยมหาสมุทรมีบทบาทสำคัญในการบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้น  นอกจากนี้ยังช่วยดูดซับความร้อนส่วนเกินจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีมากขึ้นในบรรยากาศซึ่งอุณหภูมิของมหาสมุทรในช่วง 140 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นถึง 1 องศาเซลเซียส และบางพื้นที่มีการเพิ่มขึ้นสูงสุดถึง 3 องศาเซลเซียส มหาสมุทรไม่ได้ช่วยเพียงแค่การดูดซับก๊าซคาร์บอนและความร้อน แต่ยังรวมถึงการกระจายความร้อนทั่วโลกผ่านกระแสน้ำในมหาสมุทร ซึ่งมีความสำคัญในการควบคุมการกระจายอุณหภูมิในพื้นที่ต่าง ๆควบคุมการหมุนเวียนของน้ำและสารอาหารที่สำคัญต่อการผลิตทางชีวภาพของโลก ทั้งนี้ […]

สื่อมัลติมีเดีย

อินโฟกราฟิก

ศูนย์รวมเอกสาร

Lorem ipsum dolor sit amet consectetur. Quisque amet velit elementum tristique aenean ante tortor at. Ultrices molestie sollicitudin aliquet pellentesque etiam interdum sagittis suscipit ut. Dictum feugiat arcu aliquam et pellentesque massa. Praesent faucibus tempor metus bibendum ac nullam amet.

ดาวน์โหลดเอกสารการประชุม